View map View map

การผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัลโดยกระบวนการกวนภายใต้สภาวะไร้อากาศ = Biogas production from Napier grass (Alafal Strain) by stirring process under anaerobic condition /

Authorกนิษฐา ไชยวงษ์
Published2557
Detailก-ฌ, 56 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง
Subjectสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง --สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ --ปริญญานิพนธ์.[+]
ก๊าซชีวภาพ --การผลิต[+]
มีเทน
หญ้าเนเปียร์
เทคโนโลยีชีวภาพ --ปริญญานิพนธ์[+]
เทคโนโลยีชีวภาพ --ปริญญานิพนธ์[+]
Added Authorทอปัด อภิชัยสมพล, ผู้แต่งร่วม
ปราโมทย์ ศิริโรจน์, อาจารย์ที่ปรึกษา
สกุลรัตน์ สุภาษร, ผู้แต่งร่วม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. คณะวิทยาศาสตร์
ประเภทแหล่งที่มา Book

Barcode
Location
ห้องสมุดสำนักการเรียนรู้ตลอดชีวิตฯ
Collection
KLLC Lib-Thesis, 3rd FL. Zone A
Copy
1
CallNo
ปพ. ก128ก 2557
Status
Use in Library Only

Previous 1 Next 

TagData
Callnumberปพ. ก128ก 2557
Authorกนิษฐา ไชยวงษ์
Titleการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัลโดยกระบวนการกวนภายใต้สภาวะไร้อากาศ = Biogas production from Napier grass (Alafal Strain) by stirring process under anaerobic condition / กนิษฐา ไชยวงษ์, ทอปัด อภิชัยสมพล, สกุลรัตน์ สุภาษร
Published2557
Detailก-ฌ, 56 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง
Noteฉบับอัดสำเนา
Thesis noteโครงงานพิเศษ (วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ)) -- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2557
Abstractบทคัดย่อ: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัล (Penisetum purpureum x P.glaucum Hybrid) ซึ่งมีมูลค่าต่ำ สามารถปลูกได้ง่าย ในการทดลองใช้หญ้า 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์และใช้หัวเชื้อ 6, 20 และ 80 เปอร์เซนต์ ปริมาตรหมักรวม 5 ลิตร ทำการหมักย่อยแบบแบชภายใต้สภาะไร้อากาศที่อุณหภูมิห้อง โดยมีกระบวนการกวนที่ความเร็วรอบ 50 รอบต่อนาที จากการทดลองพบว่าการหมักหญ้าแช่แข็ง 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 24 วัน ซึ่งไม่มีการปรับค่าพีเอชและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อทุกๆ ชั่วโมง มีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 2.07, 3.69 และ 0.51 ลิตร มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 25.00, 26.32 และ 15.38 เปอร์เซ็นต์ และค่าพีเอชเฉลี่ย 5.63, 5.20 และ 5.22 ตามลำดับ สำหรับการทดลองหมักหญ้าแช่แข็ง 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 9 วันซึ่งการปรับค่าพีเอชในวันที่ 5 ของการทดลองและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อวัน มีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 0.36ฅ 0.08 และ 1.09 ลิตร มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 21.43, 11.00 และ 38.64 เปอร์เซ็นต์ และค่าพีเอชเฉลี่ย 6.45, 6.41 และ 6.37 ตามลำดับ ในการทดลองหมักหญ้าสด 5 และ 7 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 9 วันโดยไม่มีการปรับค่าพีเอชและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อวัน ในวันที่ 2 ของการทดลองมีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 2.12 และ 3.58 ลิตร ตามลำดับ จากค่าพารามิเตอร์ดังกล่าวทำให้ทราบว่าประสิทธิภาพของการหมักที่ให้ผลผลิตก๊าซชีวภาพได้ดีที่สุด คือ จากการหมักหญ้าสดเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัล ซึ่งผลผลิตสูงสุดที่ได้เกิดจากการหมักหญ้า 7 เปอร์เซ็นต์ โดยมีปริมาณก๊าซชีวภาพสูงสุดที่ 1.08 ลิตรต่อวัน และมีแนวโน้มเกิดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมากกว่าการหมักหญ้าแช่แข็ง สำหรับการผลิตก๊าซชีวภาพแบบขั้นตอนเดียว (One-stage)
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Added Authorทอปัด อภิชัยสมพล, ผู้แต่งร่วม
Added Authorปราโมทย์ ศิริโรจน์, อาจารย์ที่ปรึกษา
Added Authorสกุลรัตน์ สุภาษร, ผู้แต่งร่วม
Loading...
TagData
Titleการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัลโดยกระบวนการกวนภายใต้สภาวะไร้อากาศ =
TitleBiogas production from Napier grass (Alafal Strain) by stirring process under anaerobic condition.
Subjectก๊าซชีวภาพ--การผลิต.
Subjectมีเทน.
Subjectหญ้าเนเปียร์.
Subjectสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.--ปริญญานิพนธ์.
Descriptionฉบับอัดสำเนา.
Descriptionโครงงานพิเศษ (วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ)) -- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2557.
Descriptionบทคัดย่อ: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัล (Penisetum purpureum x P.glaucum Hybrid) ซึ่งมีมูลค่าต่ำ สามารถปลูกได้ง่าย ในการทดลองใช้หญ้า 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์และใช้หัวเชื้อ 6, 20 และ 80 เปอร์เซนต์ ปริมาตรหมักรวม 5 ลิตร ทำการหมักย่อยแบบแบชภายใต้สภาะไร้อากาศที่อุณหภูมิห้อง โดยมีกระบวนการกวนที่ความเร็วรอบ 50 รอบต่อนาที จากการทดลองพบว่าการหมักหญ้าแช่แข็ง 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 24 วัน ซึ่งไม่มีการปรับค่าพีเอชและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อทุกๆ ชั่วโมง มีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 2.07, 3.69 และ 0.51 ลิตร มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 25.00, 26.32 และ 15.38 เปอร์เซ็นต์ และค่าพีเอชเฉลี่ย 5.63, 5.20 และ 5.22 ตามลำดับ สำหรับการทดลองหมักหญ้าแช่แข็ง 5, 7 และ 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 9 วันซึ่งการปรับค่าพีเอชในวันที่ 5 ของการทดลองและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อวัน มีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 0.36ฅ 0.08 และ 1.09 ลิตร มีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี 21.43, 11.00 และ 38.64 เปอร์เซ็นต์ และค่าพีเอชเฉลี่ย 6.45, 6.41 และ 6.37 ตามลำดับ ในการทดลองหมักหญ้าสด 5 และ 7 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 9 วันโดยไม่มีการปรับค่าพีเอชและเปิดระบบกวน 15 นาทีต่อวัน ในวันที่ 2 ของการทดลองมีปริมาณก๊าซชีวภาพสะสมเท่ากับ 2.12 และ 3.58 ลิตร ตามลำดับ จากค่าพารามิเตอร์ดังกล่าวทำให้ทราบว่าประสิทธิภาพของการหมักที่ให้ผลผลิตก๊าซชีวภาพได้ดีที่สุด คือ จากการหมักหญ้าสดเนเปียร์สายพันธุ์อาลาฟัล ซึ่งผลผลิตสูงสุดที่ได้เกิดจากการหมักหญ้า 7 เปอร์เซ็นต์ โดยมีปริมาณก๊าซชีวภาพสูงสุดที่ 1.08 ลิตรต่อวัน และมีแนวโน้มเกิดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมากกว่าการหมักหญ้าแช่แข็ง สำหรับการผลิตก๊าซชีวภาพแบบขั้นตอนเดียว (One-stage).
Contributorกนิษฐา ไชยวงษ์.
Contributorทอปัด อภิชัยสมพล,
Contributorปราโมทย์ ศิริโรจน์,
Contributorสกุลรัตน์ สุภาษร,
Contributorสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. คณะวิทยาศาสตร์.
Date2557
Date2557.
Typetext
Languagetha

Librarian Review


Member Review



Statistics







Tags




    My List

    Sign in
    Style Switcher
    Theme Colors

    Layout Styles